เครื่องวัดความเปรี้ยว (Acidity Meter)

เครื่องวัดความเปรี้ยว (Acidity) มาจากกรดในผลไม้ หรืออาหารมักเป็นกรดอินทรีย์โดยมีกรดซิตริก มาลิก แลคติก ทาร์ทาริก และกรดอะซิติกมากที่สุด อย่างไรก็ตามกรดอนินทรีย์เช่นกรดฟอสฟอริก และกรดคาร์บอนิก (ที่เกิดจากคาร์บอนไดออกไซด์ในสารละลาย) มักมีบทบาทสำคัญในการทำให้เป็นกรดในอาหารซึ่งเกิดรสเปรี้ยว

Acidity meter คือเครื่องมือวัดที่ใช้ในการวัดปริมาณกรดของผลไม้และผลิตภัณฑ์จากผลไม้ ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของความเปรี้ยวซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญของคุณภาพทางรสสัมผัสของผลไม้ โดยทั่วไปความเปรี้ยวในผลไม้มีสาเหตุหลักมาจากการมีกรดมาลิก (Malic acid) และกรดซิตริก (Citric acids) ซึ่งเป็นกรดอินทรีย์หลักที่พบในผลไม้ส่วนใหญ่

สินค้าคุณภาพสูงหลายรุ่นให้เลือกซื้อสำหรับด้านวิทยาศาสตร์ อาหาร และอุตสาหกรรมต่างๆ มีใบรับรองการสอบเทียบ (Certificate of Calibration) จากโรงงาน และมีบริการออกใบรับรองตามมาตรฐาน ISO17025 บริษัท นีโอนิคส์ ยินดีให้บริการ ติดต่อ-สอบถาม ขอใบเสนอราคาโทร 098-479-5684 หรือ 061-8268939 Line ID:@neonics Email: sale@tools.in.th

เครื่องวัดความเปรี้ยว

เครื่องวัดความเปรี้ยว (Acidity) มาจากกรดในผลไม้หรืออาหารมักเป็นกรดอินทรีย์โดยมีกรดซิตริก มาลิก แลคติก ทาร์ทาริก และกรดอะซิติกมากที่สุด อย่างไรก็ตามกรดอนินทรีย์เช่นกรดฟอสฟอริก และกรดคาร์บอนิก (ที่เกิดจากคาร์บอนไดออกไซด์ในสารละลาย) มักมีบทบาทสำคัญในการทำให้เป็นกรดในอาหารซึ่งเกิดรสเปรี้ยว

Acidity meter คือเครื่องมือวัดที่ใช้ในการวัดปริมาณกรดของผลไม้และผลิตภัณฑ์จากผลไม้ ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของความเปรี้ยวซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญของคุณภาพทางรสสัมผัสของผลไม้ โดยทั่วไปความเปรี้ยวในผลไม้มีสาเหตุหลักมาจากการมีกรดมาลิก (Malic acid) และกรดซิตริก (Citric acids) ซึ่งเป็นกรดอินทรีย์หลักที่พบในผลไม้ส่วนใหญ่

สินค้าคุณภาพสูง หลายรุ่นมีใบรับรอง Certificate of Calibration จากผู้ผลิต ติดต่อสอบถามได้ที่ บริษัท นีโอนิคส์ จำกัด โทร: 098-479-5684 หรือ 061-8268939 หรือ Line ID:@neonics หรือ Email: sale@tools.in.th


ความแตกต่างความเปรี้ยว (Acidity) และกรด-ด่าง (pH)

นิยามของความเปรี้ยว Acidity

Acidity เป็นการวัดปริมาณกรดอินทรีย์หลักที่มีอยู่ในตัวอย่างเช่น น้ำผลไม้ นม ไวน์ วัดด้วยการไตรเตรท ด้วยด่าง (NaOH) โดยผลการไตเตรทบอกปริมาณกรดอินทรีย์ที่มีอยู่หลักในตัวอย่างเช่นในไวน์ มีกรด tartaric เป็นหลัก ส่วนในผลไม้จะมีกรดมาลิก (Malic acid) และกรดซิตริก (Citric acids) การวัดค่า Acidity มีหน่วยวัดเป็น % (g/100g หรือ g/100 mL) เป็นต้น

นิยามของพีเอช (pH)

ค่า pH เป็นส่วนกลับของลอการึทึม (logarithm) ของความเข้มข้นของไฮโดรเจนไอออน (H+) เป็นกรัมต่อสารละลายหนึ่งลิตร โดยค่า pH แสดงความเป็นกรดหรือเบสของสารละลาย มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 14 โดยค่า pH มีค่า 7 หมายความว่ามีความเป็นกลาง (natural pH) pH มีค่าต่ำกว่า 7 แสดงความเป็นกรด (acidic pH) pH มีค่าสูงกว่า 7 แสดงความเป็นเบส (alkaline pH)

ความเปรี้ยว (Acidity) ที่มีอยู่ในอาหารมีอิทธิพลต่อ:

  • รสชาติ (เช่นความเปรี้ยว แสบลิ้น)
  • สี (ผ่านผลกระทบต่อแอนโทไซยานินและเม็ดสีที่มีอิทธิพลต่อค่า pH อื่นๆ)
  • ป้องกัน/ชะลอการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์หรือยับยั้งการงอกของสปอร์
  • จัดให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับการขับโลหะไอออนซึ่งเป็นปรากฏการณ์สำคัญในการ

 

ประโยชน์ของ Acidityในผลไม้

  • กำหนดระดับการเจริญเติบโตของผักและผลไม้:โดยทั่วไปความสุกจะใช้ความเป็นกรดที่สามารถไตเตรทของผลไม้ได้พร้อมกับปริมาณน้ำตาลเป็นตัวบ่งชี้ เช่น.ในกระบวนทำให้สุกเช่นมะเขือเทศตั้งแต่ระยะเขียวจนถึงระยะสุก ก็มีเพิ่มปริมาณน้ำตาลและความเปรี้ยว
  • เพื่อตรวจสอบความสดของอาหาร เช่นในนมยิ่งมีกรดแลกติกมากก็แสดงว่านมเน่า

สอบถามข้อมูล สั่งซื้อ ขอใบเสนอราคา